พ.ร.บ. เบิกได้เยอะมาก หลายคนไม่รู้ทิ้งเงินก้อนโตไปเฉยๆ

พ.ร.บ. เบิกได้เยอะมาก หลายคนไม่รู้ทิ้งเงินก้อนโตไปเฉยๆ

เชื่อว่าหลายคนแน่นอนที่ยังไม่รู้ว่า พ.ร.บ. เบิกได้แถมเยอะมากด้วยนะ เราจ่ายกันทุกปี ๆ ถ่ายรูปเก็บไว้หน่อยก็ดี จะเป็น พ.ร.บ. รถยนต์ หรือประกันรถยนต์ภาคบังคับ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง ซึ่งก็แน่นอนว่าบังคับรถรถยนต์ รถจักรยานยนต์ทุกคันจะต้องทำ และจะต้องต่อภาษี ต่อทะเบียน ด้วยเช่นกัน ทำทั้งหมดนี้ควบคู่กันไปเลย สิทธิประโยชน์ก็คือสำหรับคุ้มครองผู้ประสบเหตุจากรถยนต์และรถจักรยานยนต์นั่นเอง

รายละเอียดมีดังนี้

– ค่า รั ก ษ  าพยาบาลจากการ บ า ด เจ็ บ จ่ายตามจริงสูงสุดไม่เกิน 30,000 บาท/คน

– หากถึงแ ก่ ชี วิ ต หรือ เ สี ยอ วั ย ว ะ หรือ ทุ พ พ ล ภ า พ ถ า ว ร จ่ายให้ 3,000 บาท/คน

หากเกิดความเสียหายทั้ง 2 ข้อ พร้อมกันเลย รวมกันแล้วจะต้องไม่เกินยอด 65,000 บาท/คน ซึ่งจะเป็นการจ่ายค่าสินไหมทดแทน ซึ่งผู้เครมประกันจะได้รับภายหลังการพิสูทจ์แล้วว่าตนนั้นไม่ได้เป็นฝ่ายผิดตามกฎหมายจริง ๆ โดยมีวงเงินคุ้มครองรวมกับค่าเสียหายเบื้องต้นที่กล่าวมา ในกรณีที่เป็นฝ่ายถูกนะ ดังนี้

– ค่า รั ก ษ า พ ย า บ า ล จากการบ า ด เ จ็ บ สูงสุด 80,000 บาท/คน

– ชี วิ ต หรือ ทุ พ พ ล ภ า พ  ถ า ว ร 300,000 บาท/คน

– สู  ญ เ สี ย อ วั ย ว ะ

– เ สี ย มื อ ตั้งแต่ข้อมือ หรือ แขน หรือ เท้าตั้งแต่ข้อเท้า หรือ ขา หรือ ตา อย่างใดอย่างหนึ่งรวมกัน ตั้งแต่ 2 กรณีขึ้นไป 300,000 บาท

– เ สี ย มื อตั้งแต่ข้อมือ หรือ แขน หรือเท้าตั้งแต่ข้อเท้า หรือ ขา หรือ ตา หรือ หู ห น ว ก เป็นใ บ้ เสียความสามารถในการพูด เ สี ย อ วั ย ว ะ หรือไม่สามารถ สื บ พั  น ธุ์   จิ ต พิ ก า ร อย่างติดตัว หรือเ สี ย อ วั ย ว ะ อื่น ๆ 250,000 บาท

– เ สี ย นิ้ ว ตั้งแต่ข้อนิ้วขึ้นไป จะนิ้วเดียวหรือกี่นิ้ว 200,000 บาท

– ค่าชดเชย รั ก ษ า ตั ว กรณีผู้ ป่ ว ยใน 200 บาท/วัน แต่ไม่เกิน 20 วัน หรือไม่เกิน 4,000 บาท

– จำนวนเงินคุ้มครองสูงสุดรวมกันต้องไม่เกิน 304,000 บาท

– วงเงินคุ้มครองความรับผิดชอบสูงสุดต่อเหตุแต่ละครั้ง สำหรับรถยนต์ไม่เกิน 7 ที่นั่ง 5,000,000 บาท/ครั้ง

พ.ร.บ. เบิกได้เยอะมาก

เอกสารที่จำเป็นต้องใช้เวลาจะเคลม พ.ร.บ. ในกรณีที่ได้รับ บ า ด เ จ็ บ

– สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ประสบเหตุ

– ใบเสร็จรับเงินต้นฉบับ

กรณีเบิกค่าชดเชย หรือ ผู้ ป่ ว ย ใ น

– สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน

– ใบรับรองแพทย์ หรือ หนังสือรับรองก า รรั ก ษ  า ตั วเป็นผู้ ป่ ว ย ใน

กรณี ทุ พ พ ล ภ า พ

– สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน

– ใบรับรองแพทย์และหนังสือรับรองคว า ม พิ ก า ร

– สำเนาบันทึกประจำวันของพนักงานสอบสวน หรือ หลักฐานอื่นที่แสดงว่าผู้นั้นได้รับความเสียหายจากการประสบ ภั ย จากรถ

กรณีถึงแ ก่ ชี วิ ต

– สำเนาบัตรประชาชนของผู้ประสบเหตุ

– ใบ ม ร ณ ะ บั ต ร

– สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนทายาท

– สำเนาทะเบียนบ้าน

เอกสารเตรียมให้ครบตามแต่ละกรณีที่เกิดขึ้น จากนั้นก็นำไปเบิกขอรับเงินประกันได้เลย ไปรับจากบริษัทประรถยนต์ที่ทำการซื้อ พ.ร.บ. นั้นเลย อยากรู้ว่าซื้อกับบริษัทไหนให้ดูที่กรมธรรม์และบริษัทคุ้มครอง ดูสำหรับจักรยานยนต์ก็ได้เช่นกัน และจะมีการเบิกจ่ายให้ภายใน 7 วัน โดย พ.ร.บ. จะคุ้มครองผู้ที่เสียหายในส่วนของคนนั้น ส่วนทรัพย์สิน หรือ ตัวรถ จะไม่ได้รับการคุ้มครอง เพราะฉะนั้นแล้วผู้ขับขี่ก็ควรจะทำประกันรถยนต์ภาคสมัครใจเอาไว้ด้วย จะชั้น 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ก็เลือกกันเองตามสะดวกได้เลย

เรียบเรียงโดย : Krustory

ขอขอบคุณ : กรมขนส่ง, postsara