อธิบดีกรมการแพทย์ เตือน อย่าดื่มน้ำมากเกินวันละ 6-7 ลิตร
เพราะเสี่ยงเกิดอาการไฮโปแนทรีเมีย ดื่มน้ำมากเกินไป
เสี่ยงสมองบวมเสียชีวิต โดย นพ.สุพรรณ ศรีธรรมมา อธิบดีกรมการแพทย์
เปิดเผยว่า การดื่มน้ำนั้นถือเป็นสิ่งจำเป็น เพราะน้ำเป็นส่วนประกอบ 2 ใน 3
ของร่างกาย แต่หากดื่มน้ำมากเกินไปคือ วันละ 6-7 ลิตร
จะทำให้ร่างกายได้รับน้ำปริมาณมากเกินไปในเวลารวดเร็ว ทำให้เกิดภาวะน้ำเกิน
หรือน้ำเป็นพิษ (Water Intoxication) เนื่องจากน้ำจะเจือจาง
ทำให้ความเข้มข้นของแร่ธาตุโซเดียมลดลง
หลายคนคงรู้ดียิ่งดื่มน้ำเยอะยิ่งดีต่อสุขภาพ แต่ก็มีอีกหลายคนที่ยังคงสงสัย ดื่มน้ำเยอะขนาดนั้นทุกวัน มันช่วยให้สุขภาพดียังไง? ซึ่งในความเป็นจริงการดื่มน้ำให้เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ไม่ได้ขึ้นอยู่ที่เราดื่มน้ำมากเท่าไหร่ แต่มันขึ้นอยู่ที่ว่าเราดื่มน้ำเป็นหรือไม่ ? วันนี้เราจึงมาบอกวิธีการดื่มน้ำที่ดี ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายมาแนะนำให้เพื่อนๆได้รู้และปฏิบัติตามกัน
■ ดื่มน้ำแก้วที่ 1 ตอน 6:30 (ล้างสารพิษ/บำรุงตา)
■ ดื่มน้ำแก้วที่ 2 ตอน 8:30 (สุขภาพดี)
■ ดื่มน้ำแก้วที่ 3 ตอน 11:00 (บรรเทาความเมื่อยล้า/ผ่อนคลาย)
■ ดื่มน้ำแก้วที่ 4 ตอน 12:50 (ลดน้ำหนัก)
■ ดื่มน้ำแก้วที่ 5 ตอน 15:00 (สดชื่น/มีชีวิตชีวา)
■ ดื่มน้ำแก้วที่ 6 ตอน 17:30 (ช่วยในการย่อยและดูดซึมอาหาร)
■ ดื่มน้ำแก้วที่ 7 ตอน 22:00 (ล้างพิษ/ช่วยในเรื่องการขับถ่าย)
ดื่มน้ำเย็น 1แก้ว ในตอนเช้า หลายคนคงเคยได้ยินมาว่าตื่นเช้ามาให้ดื่มน้ำหนึ่งแก้ว มีประโยชน์ต่อร่างกาย บางคนดื่มน้ำ+เกลือ? บางคนดื่มน้ำ+น้ำผึ้ง? และมีอีกหลายคนที่อยากขาวสวยดื่มน้ำมะนาว? แล้วสรุปว่าดื่มน้ำอะไรดีที่สุดล่ะ? หลังจากที่ร่างกายของเราผลาญกระบวนการเผาผลาญมาแล้ว ของเสียข้างในก็ต้องการสิ่งหนึ่งเพื่อที่จะมาช่วยในการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย ฉะนั้นน้ำเปล่าเย็นๆ ที่ไม่มีน้ำตาลไม่มีสารอาหารใดๆ จึงเหมาะที่สุดที่จะช่วยในการล้างสารพิษออกไป
2. ดื่มน้ำเพื่อ “ลดความอ้วน” ต้องดื่มยังไง
หลังจากทานข้าวเสร็จ 30 นาที ให้ดื่มน้ำตามเข้าไปพอประมาณ ยังมีหลายคนคิดว่า
ไม่ดื่มน้ำก็ช่วยลดน้ำหนักได้! ซึ่งแพทย์ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่า
นั้นเป็นวิธีการลดความอ้วนที่ผิด! ถ้าหากว่าอยากให้น้ำหนักตัวลดลง
แต่ดื่มน้ำไม่เพียงพอตามที่ร่างกายต้องการ
ร่างกายของเราก็จะไม่สามารถเผาผลาญไขมันได้
ผลที่ได้คุณก็จะมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
ฉะนั้นการดื่มน้ำที่เพียงพอจะช่วยหลีกเลี่ยงความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
ดังนั้นหลังจากที่คุณทานข้าวเสร็จ 30 นาที ให้ดื่มน้ำตามเข้าไป
เพื่อเสริมสร้างการทำงานของระบบย่อยอาหาร ช่วยรักษารูปร่างของคุณให้ดีขึ้น
3. ดื่มน้ำเพื่อ “ลดหวัด/น้ำมูก” ต้องดื่มยังไง
ต้องดื่มน้ำให้มากกว่าปกติ ทุกครั้งที่ป่วยเป็นหวัด ก็มักจะได้ยินหมอบอกว่า “ดื่มน้ำให้เยอะๆนะ” เป็นประโยคที่หมอมักจะพูดกับผู้ป่วยไข้หวัดประจำ เพราะน้ำช่วยให้อาการไข้หวัดดีขึ้น เพราะขณะที่คนเราป่วยเป็นหวัด มีไข้ ตัวร้อน ร่างกาบของเราก็จะมีการเผาผลาญมากขึ้น ระบายความร้อนออกจากร่างกาย เสียน้ำทางเหงื่อและทางการหายใจมากขึ้น ทำให้ร่างกายขาดน้ำ มีปัสสาวะน้อยลง ฉะนั้นต้องดื่มน้ำเยอะเป็นพิเศษ เพื่อช่วยลดไข้และทดแทนน้ำที่สูญเสียไป
4. ดื่มน้ำเพื่อ “ลดอาการไอ” ต้องดื่มยังไง
ดื่มน้ำอุ่นเยอะๆ อาการไอ อาจทำให้เกิดความเจ็บปวดและความน่ารำคาญอย่างรุนแรงได้ แล้วจะมีวิธีไหนที่ช่วยรักษาหรือช่วยบรรเทาอาการไอนี้ได้? ง่ายๆแค่คุณต้องดื่มน้ำอุ่นให้มากๆ เพราะน้ำอุ่นจะช่วยละลายเสมหะที่ข้นเหนียวให้ใสขึ้น และถูกขับออกได้ง่าย นอกจากนี้ยังสามารถช่วยบรรเทาหลอดลมและเยื่อบุหลอดลมอักเสบได้อีกด้วย ช่วยลดความถี่ของอาการไอ แค่นี้ก็จะช่วยให้อาการไอของคุณดีขึ้น
5. ดื่มน้ำเพื่อ “ลดอาการปวดท้องกระเพาะ” ต้องดื่มยังไง
ให้ทานโจ๊ก “ช่วยรักษาสมดุลของน้ำในร่างกาย” ต้มโจ๊กให้มีอุณหภสูงกว่า 60℃ อุณหภูมินี้จะทำให้โจ๊กไม่หนืดข้นมากจนเกินไป เมื่อผู้ป่วยทานเข้าไป จะรู้สึกย่อยสลายง่าย ดังนั้นจึงเหมาะสำหรับผู้ป่วยระบบทางเดินอาหาร
6. ดื่มน้ำเพื่อ “ลดอาการนอนไม่หลับ” ต้องดื่มยังไง
ให้น้ำอุ่น ช่วยผ่อนคลาย การอาบน้ำอุ่นหรือแช่น้ำอุ่น จะทำให้การหลับดีขึ้นอาจจะเนื่องจากเมื่ออกจากน้ำอุ่นทำให้อุณหภูมิลดลง ส่งสัญญาณว่าถึงเวลานอน ดังนั้นการอาบน้ำอุ่นก่อนนอนจะช่วยให้หลับดีขึ้น
7. ดื่มน้ำเพื่อ “บรรเทาอาการท้องผูก” ต้องดื่มยังไง
การดื่มน้ำเปล่าในปริมาณที่เหมาะสม อาการท้องผูก อาจเกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นการกินอาหารที่ย่อยยาก กินแล้วทำให้ท้องอืด ท้องผูก หรือดื่มน้ำน้อยเกินไป และอื่นๆ ดังนั้นการดื่มน้ำที่เหมาะสมจะช่วยเรื่องท้องผูก โดยปกติเราควรจะดื่มน้ำวันละ 8 เเก้ว ซึ่งถือเป็นปริมาณที่พอเหมาะพอดีกับร่างกาย ซึ่งนอกจากจะช่วยเรื่องอื่น ๆ แล้ว ยังช่วยไม่ให้ท้องผูกด้วย เพราะน้ำจะไปช่วยให้กากอาหารอ่อนตัวลงได้
8. ดื่มน้ำเพื่อ “ลดอาการหงุดหงิด” ต้องดื่มยังไง
นิตยสาร The Journal of Nutrition ได้ตีพิมพ์ผลการศึกษาล่าสุดซึ่งนักวิจัยพบว่า ภาวะขาดน้ำในมนุษย์เป็นปัจจัยหลักในการเกิดอาการปวดหัว เหนื่อยล้า ขาดแรงจูงใจในการทำงาน และอารมณ์หงุดหงิด
การศึกษาชี้ว่า ผู้หญิงที่ขาดน้ำน้อยกว่าปกติเพียงร้อยละ 1 ได้รับผลกระทบ ได้แก่อารมณ์หงุดหงิดและอาการปวดศีรษะ
ดังนั้นดื่มน้ำเยอะๆยิ่งดีต่อสุขภาพ ช่วยลดอาการหงุดหงิดที่เกิดขึ้นได้ สำหรับปริมาณน้ำเปล่าที่ควรดื่มในแต่ละวันนั้น สามารถเช็คโดยง่ายจากสีของปัสสาวะ ซึ่งเมื่อไหร่ที่สีปัสสาวะเข้มกว่าปกติ แสดงว่าร่างกายกำลังต้องการน้ำมากขึ้น
9. ดื่มน้ำเพื่อ “ลดอาการคลื่นไส้” ต้องดื่มยังไง
น้ำในร่างกายสำคัญมากในระหว่างมีอาการคลื่นไส้ การดื่มน้ำเปล่าและน้ำผลไม้เป็นปริมาณน้อยๆ ระหว่างวันจะช่วยแก้อาการคลื่นไส้ได้ น้ำเปล่าเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุด แต่ถ้าหากอาเจียนไปแล้ว ให้ดื่มน้ำเกลือ หรือเครื่องดื่มเกลือแร่ที่มีกลูโคส เกลือ และโพแทสเซียม เพื่อชดเชยเกลือแร่ที่เสียไป
10. ดื่มน้ำเพื่อ “ลดความเสี่ยงโรคหัวใจ” ต้องดื่มยังไง
ดื่มน้ำก่อนนอน 1แก้ว ทำให้เป็นกิจวัตรประจำวัน เพราะการดื่มน้ำ1แก้วก่อนนอน ช่วยป้องกันความเสี่ยงโรคที่อาจจะเกิดขึ้นได้ เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคหัวใจขาดเลือด
สาเหตุที่การดื่มน้ำให้พอมีส่วนช่วยป้องกันโรคหัวใจอาจเป็นผลมาจาก “ความหนืด (viscosity)” ของเลือดที่ลดลงเมื่อร่างกายได้รับน้ำมากพอ ทำให้หัวใจสูบฉีดเลือดได้ง่ายขึ้น
ถ้าร่างกายขาดน้ำ… เลือดจะมีสัดส่วนของเม็ดเลือดและโปรตีนเพิ่มขึ้น น้ำน้อยลง ทำให้หนืดขึ้น ไหลเวียนช้าลง และเกิดลิ่มเลือดได้ง่ายขึ้น
**อย่าลืมแชร์เรื่องราวดีดีให้คนที่เรารักได้อ่าน…
หลายคนคงรู้ดียิ่งดื่มน้ำเยอะยิ่งดีต่อสุขภาพ แต่ก็มีอีกหลายคนที่ยังคงสงสัย ดื่มน้ำเยอะขนาดนั้นทุกวัน มันช่วยให้สุขภาพดียังไง? ซึ่งในความเป็นจริงการดื่มน้ำให้เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ไม่ได้ขึ้นอยู่ที่เราดื่มน้ำมากเท่าไหร่ แต่มันขึ้นอยู่ที่ว่าเราดื่มน้ำเป็นหรือไม่ ? วันนี้เราจึงมาบอกวิธีการดื่มน้ำที่ดี ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายมาแนะนำให้เพื่อนๆได้รู้และปฏิบัติตามกัน
■ ดื่มน้ำแก้วที่ 1 ตอน 6:30 (ล้างสารพิษ/บำรุงตา)
■ ดื่มน้ำแก้วที่ 2 ตอน 8:30 (สุขภาพดี)
■ ดื่มน้ำแก้วที่ 3 ตอน 11:00 (บรรเทาความเมื่อยล้า/ผ่อนคลาย)
■ ดื่มน้ำแก้วที่ 4 ตอน 12:50 (ลดน้ำหนัก)
■ ดื่มน้ำแก้วที่ 5 ตอน 15:00 (สดชื่น/มีชีวิตชีวา)
■ ดื่มน้ำแก้วที่ 6 ตอน 17:30 (ช่วยในการย่อยและดูดซึมอาหาร)
น้ำเป็นยาที่ดีที่สุด แล้วคุณล่ะ รู้วิธีดื่มน้ำที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายหรือเปล่า ?
1. ดื่มน้ำเพื่อ “ลดกระ ฝ้า ให้จางลง” ต้องดื่มยังไงดื่มน้ำเย็น 1แก้ว ในตอนเช้า หลายคนคงเคยได้ยินมาว่าตื่นเช้ามาให้ดื่มน้ำหนึ่งแก้ว มีประโยชน์ต่อร่างกาย บางคนดื่มน้ำ+เกลือ? บางคนดื่มน้ำ+น้ำผึ้ง? และมีอีกหลายคนที่อยากขาวสวยดื่มน้ำมะนาว? แล้วสรุปว่าดื่มน้ำอะไรดีที่สุดล่ะ? หลังจากที่ร่างกายของเราผลาญกระบวนการเผาผลาญมาแล้ว ของเสียข้างในก็ต้องการสิ่งหนึ่งเพื่อที่จะมาช่วยในการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย ฉะนั้นน้ำเปล่าเย็นๆ ที่ไม่มีน้ำตาลไม่มีสารอาหารใดๆ จึงเหมาะที่สุดที่จะช่วยในการล้างสารพิษออกไป
2. ดื่มน้ำเพื่อ “ลดความอ้วน” ต้องดื่มยังไง
3. ดื่มน้ำเพื่อ “ลดหวัด/น้ำมูก” ต้องดื่มยังไง
ต้องดื่มน้ำให้มากกว่าปกติ ทุกครั้งที่ป่วยเป็นหวัด ก็มักจะได้ยินหมอบอกว่า “ดื่มน้ำให้เยอะๆนะ” เป็นประโยคที่หมอมักจะพูดกับผู้ป่วยไข้หวัดประจำ เพราะน้ำช่วยให้อาการไข้หวัดดีขึ้น เพราะขณะที่คนเราป่วยเป็นหวัด มีไข้ ตัวร้อน ร่างกาบของเราก็จะมีการเผาผลาญมากขึ้น ระบายความร้อนออกจากร่างกาย เสียน้ำทางเหงื่อและทางการหายใจมากขึ้น ทำให้ร่างกายขาดน้ำ มีปัสสาวะน้อยลง ฉะนั้นต้องดื่มน้ำเยอะเป็นพิเศษ เพื่อช่วยลดไข้และทดแทนน้ำที่สูญเสียไป
4. ดื่มน้ำเพื่อ “ลดอาการไอ” ต้องดื่มยังไง
ดื่มน้ำอุ่นเยอะๆ อาการไอ อาจทำให้เกิดความเจ็บปวดและความน่ารำคาญอย่างรุนแรงได้ แล้วจะมีวิธีไหนที่ช่วยรักษาหรือช่วยบรรเทาอาการไอนี้ได้? ง่ายๆแค่คุณต้องดื่มน้ำอุ่นให้มากๆ เพราะน้ำอุ่นจะช่วยละลายเสมหะที่ข้นเหนียวให้ใสขึ้น และถูกขับออกได้ง่าย นอกจากนี้ยังสามารถช่วยบรรเทาหลอดลมและเยื่อบุหลอดลมอักเสบได้อีกด้วย ช่วยลดความถี่ของอาการไอ แค่นี้ก็จะช่วยให้อาการไอของคุณดีขึ้น
5. ดื่มน้ำเพื่อ “ลดอาการปวดท้องกระเพาะ” ต้องดื่มยังไง
ให้ทานโจ๊ก “ช่วยรักษาสมดุลของน้ำในร่างกาย” ต้มโจ๊กให้มีอุณหภสูงกว่า 60℃ อุณหภูมินี้จะทำให้โจ๊กไม่หนืดข้นมากจนเกินไป เมื่อผู้ป่วยทานเข้าไป จะรู้สึกย่อยสลายง่าย ดังนั้นจึงเหมาะสำหรับผู้ป่วยระบบทางเดินอาหาร
6. ดื่มน้ำเพื่อ “ลดอาการนอนไม่หลับ” ต้องดื่มยังไง
ให้น้ำอุ่น ช่วยผ่อนคลาย การอาบน้ำอุ่นหรือแช่น้ำอุ่น จะทำให้การหลับดีขึ้นอาจจะเนื่องจากเมื่ออกจากน้ำอุ่นทำให้อุณหภูมิลดลง ส่งสัญญาณว่าถึงเวลานอน ดังนั้นการอาบน้ำอุ่นก่อนนอนจะช่วยให้หลับดีขึ้น
7. ดื่มน้ำเพื่อ “บรรเทาอาการท้องผูก” ต้องดื่มยังไง
การดื่มน้ำเปล่าในปริมาณที่เหมาะสม อาการท้องผูก อาจเกิดขึ้นได้หลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นการกินอาหารที่ย่อยยาก กินแล้วทำให้ท้องอืด ท้องผูก หรือดื่มน้ำน้อยเกินไป และอื่นๆ ดังนั้นการดื่มน้ำที่เหมาะสมจะช่วยเรื่องท้องผูก โดยปกติเราควรจะดื่มน้ำวันละ 8 เเก้ว ซึ่งถือเป็นปริมาณที่พอเหมาะพอดีกับร่างกาย ซึ่งนอกจากจะช่วยเรื่องอื่น ๆ แล้ว ยังช่วยไม่ให้ท้องผูกด้วย เพราะน้ำจะไปช่วยให้กากอาหารอ่อนตัวลงได้
8. ดื่มน้ำเพื่อ “ลดอาการหงุดหงิด” ต้องดื่มยังไง
นิตยสาร The Journal of Nutrition ได้ตีพิมพ์ผลการศึกษาล่าสุดซึ่งนักวิจัยพบว่า ภาวะขาดน้ำในมนุษย์เป็นปัจจัยหลักในการเกิดอาการปวดหัว เหนื่อยล้า ขาดแรงจูงใจในการทำงาน และอารมณ์หงุดหงิด
การศึกษาชี้ว่า ผู้หญิงที่ขาดน้ำน้อยกว่าปกติเพียงร้อยละ 1 ได้รับผลกระทบ ได้แก่อารมณ์หงุดหงิดและอาการปวดศีรษะ
ดังนั้นดื่มน้ำเยอะๆยิ่งดีต่อสุขภาพ ช่วยลดอาการหงุดหงิดที่เกิดขึ้นได้ สำหรับปริมาณน้ำเปล่าที่ควรดื่มในแต่ละวันนั้น สามารถเช็คโดยง่ายจากสีของปัสสาวะ ซึ่งเมื่อไหร่ที่สีปัสสาวะเข้มกว่าปกติ แสดงว่าร่างกายกำลังต้องการน้ำมากขึ้น
9. ดื่มน้ำเพื่อ “ลดอาการคลื่นไส้” ต้องดื่มยังไง
น้ำในร่างกายสำคัญมากในระหว่างมีอาการคลื่นไส้ การดื่มน้ำเปล่าและน้ำผลไม้เป็นปริมาณน้อยๆ ระหว่างวันจะช่วยแก้อาการคลื่นไส้ได้ น้ำเปล่าเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุด แต่ถ้าหากอาเจียนไปแล้ว ให้ดื่มน้ำเกลือ หรือเครื่องดื่มเกลือแร่ที่มีกลูโคส เกลือ และโพแทสเซียม เพื่อชดเชยเกลือแร่ที่เสียไป
10. ดื่มน้ำเพื่อ “ลดความเสี่ยงโรคหัวใจ” ต้องดื่มยังไง
ดื่มน้ำก่อนนอน 1แก้ว ทำให้เป็นกิจวัตรประจำวัน เพราะการดื่มน้ำ1แก้วก่อนนอน ช่วยป้องกันความเสี่ยงโรคที่อาจจะเกิดขึ้นได้ เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคหัวใจขาดเลือด
สาเหตุที่การดื่มน้ำให้พอมีส่วนช่วยป้องกันโรคหัวใจอาจเป็นผลมาจาก “ความหนืด (viscosity)” ของเลือดที่ลดลงเมื่อร่างกายได้รับน้ำมากพอ ทำให้หัวใจสูบฉีดเลือดได้ง่ายขึ้น
ถ้าร่างกายขาดน้ำ… เลือดจะมีสัดส่วนของเม็ดเลือดและโปรตีนเพิ่มขึ้น น้ำน้อยลง ทำให้หนืดขึ้น ไหลเวียนช้าลง และเกิดลิ่มเลือดได้ง่ายขึ้น
**อย่าลืมแชร์เรื่องราวดีดีให้คนที่เรารักได้อ่าน…