เคล็ดลับการสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร

เคล็ดลับการสวดมนต์ พระคาถาชินบัญชร

การสวดพระคาถาชินบัญชร (การอัญเชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์มาสถิตอยู่กับเรา)
มี พุทธคุณ ๙ ประการ ดังนี้ เมตตา มหานิยม แคล้วคลาด ปราศจากโรค ได้ลาภ ได้ยศ ค้าขายดี มีวิชา เจริญรุ่งเรือง
ผู้ใดสวดภาวนาพระคาถานี้เป็นประจำสม่ำเสมอจะทำให้เกิดความสิริมงคลแก่ตนเอง
ศัตรูไม่กล้ากล้ำกราย มีเมตตามหานิยม ขจัดภัยตลอดจนคุณไสยต่างๆ
เพื่อให้เกิดอานุภาพยิ่งขึ้น ก่อนเจริญภาวนาให้ ตั้งนะโม ๓ จบ แล้วระลึกถึงและตั้งคำอธิษฐานว่า
ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา
อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ



เริ่มบทพระคาถาชินบัญชร พระคาถาชินบัญชร
๑. ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตะวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา.
๒. ตัณหัง กะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก เต มุนิสสะรา.
๓. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
๔. หะทะเย เม อนุรุทโธ สารีปุตโต จะ ทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะวามะเก.
๕. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
๖. เกสะโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิ ปุงคะโล.
๗. กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร.
๘. ปุณโณ อังคุลิมาโลจะ อุปะลี นันทะสีวะลี เถรา ปัญจะอิเมชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
๙. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
๑๐. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง.
๑๑. ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเล ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา.
๑๒. ชินานานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะลังกะตา วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา.
๑๓. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.
๑๔. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
๑๕. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตูปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิชินะปัญชะเรติ.



เคล็ดลับการสวดการใช้พระคาถาชินบัญชร (โดยมากนิยมสวดทั้งหมด 15 คาถา) จึงขอแนะนำ ดังนี้
๑.อาราธนาพระสมเด็จไปกับตัว ให้ใช้พระคาถาที่ ๓ :
สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโรจะเนสังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร
หรือให้ใช้พระคาถานำ (๔ วรรคแรกของพระคาถาชินบัญชร) เป็น คาถาบูชาพระสมเด็จ ดังนี้
ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนังอัตถิกาเย กายะ ญายะ เทวานัง ปิยะตัง สุตะวา

๒. สำหรับ ศิลปิน นักพูด นักแสดง ให้ใช้พระคาถาที่ ๗ ดังนี้ 
กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโกโส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร

๓. สำหรับเสกน้ำล้างหน้า หรือ เสกแป้ง เพื่อความเป็นสิริมงคล เมตตามหานิยม ให้ใช้พระคาถาที่ ๘ ดังนี้
ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลีนันทะสีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ

๔. แคล้วคลาดภัยอันตรายต่างๆ ให้ใช้พระคาถาที่ ๙ ดังนี้
เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอตาสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา

๕.การคงกระพัน ป้องกันการถูกทำร้ายด้วยอาวุธต่างๆ ให้ใช้พระคาถาที่ ๑๐ ดังนี้
ระตะนัง ปุรุโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง



๖.ป้องกันโรคการเจ็บป่วย ให้ใช้พระคาถาที่ ๑๓ ดังนี้
อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะ ชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะ ปัญชะเร

๗.อาราธนาให้พระคุ้มครองเพื่อความปลอดภัย ขณะไปในที่ต่างๆ ติดต่อการงาน ฯลฯ ให้ใช้ พระคาถาที่ ๑๔ ดังนี้
ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮีตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา

๘.ภาวนาให้เล่าเรียนสำเร็จให้ใช้พระคาถาที่ ๕ ดังนี้
ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุลา กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก

๙. ภาวนาให้สง่าราศี เมื่อต้องออกงาน ไปร่วมพิธีการต่างๆ หรือปรากฏตัวในที่สาธารณะให้ใช้พระคาถาที่ ๖ ดังนี้
เกสัณโต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว

๑๐.ป้องกันภูติผีปีศาจต่างๆ ให้ใช้พระคาถาที่ ๑๐-๑๑ ดังนี้
ระตะนัง ปุรุโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง
ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะสุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา

๑๑.สำหรับทำน้ำมนต์ เพื่อความเป็นสิริมงคล เมตตามหานิยม ให้ใช้พระคาถาที่ ๘ ดังนี้
ปุณโณ อังคุลิมาโลจะ อุปะลี นันทะสีวะลี เถรา ปัญจะอิเมชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ


ขอบคุณแหล่งที่มา – เพจ ฟรีความสุข ฟรีความรู้