ควรหามาปลูกไว้ในห้องนอน ต้นไม้ 9 ชนิด ที่สามารถช่วยฟอกอากาศให้คุณได้

ควรหามาปลูกไว้ในห้องนอน ต้นไม้ 9 ชนิด ที่สามารถช่วยฟอกอากาศให้คุณได้

ต้นไม้ที่ปลูกในห้องนอนได้ เพราะไม่ได้ช่วยฟอกอากาศให้บริสุทธิ์และทำให้นอนหลับสนิทขึ้นเท่านั้น แต่ต้นไม้ที่ปลูกในห้องนอนได้เหล่านี้ยังช่วยลดความເครียດและสารที่ก่อให้เกิດภูมิแพ้ด้วย

วาสนา

ต้นไม้มงคลที่ช่วยฟอกอากาศในห้องนอน แถมยังช่วยดูดสารพิ ษอย่าง ไซลีน ฟอร์มาลดีไฮด์ โทลูอีน เบนซิน และไทรคลอโรเอทิลีน ทำให้หายใจสะดวก และส่งผลให้นอนหลับสบาย วิธีปลูกก็ไม่ย าก เริ่มจากผสมดินร่วน 1 ส่วน ปุ๋ยหมัก 1 ส่วน และแกลบ 1 ส่วน ใส่ลงในกระถางขนาด 10-18 นิ้ว แล้วนำต้นพันธุ์ที่สมบูรณ์มาปลูก หมั่นรดน้ำทั้งเช้า-เย็น และตั้งในที่ที่มีแดดรำไร

มะลิ

กลิ่นหอม มะลิช่วยปลอบประโลมจิตใจ ทำให้ร่ า งกายรู้สึกผ่อนคลาย แถมยังช่วยลดความເครียດ ไม่สะดุ้งตื่นกลางดึก ทำให้นอนหลับได้อย่างเต็มที่ ตื่นมาด้วยความสดชื่นพร้อมใช้ชีวิต ส่วนวิธีปลูกเพื่อนำไปประดับในห้องนอนก็ทำได้ง่าย โดยปลูกต้นมะลิลงในกระถางที่มีดินร่วนผสมกับปุ๋ยคอกในอัตราที่เท่ากัน ดูแลด้วยการรดน้ำปานกลางทั้งเช้าและเย็น และตั้งให้โดนแดดบ้าง

เยอบีร่า

ต้นไม้ปลูกในห้องนอนที่นอกจากจะช่วยช่วยฟอกอากาศให้สดชื่น ยังข่วยลดสารที่ทำให้เกิດภูมิแพ้และหอบหืดได้เป็นอย่างดี ช่วยให้นอนหลับสบายมากขึ้น ปลูกโดยการแยกหน่อที่มี 1 ยอด และมีราก 3 รากออกมา เล็มรากและใบออกนิดหน่อยเพื่อลดการคายน้ำ แล้วนำมาปลูกลงในดินผสมทรายและขุยมะพร้าว s ะวั งอย่าให้ดินกลบยอด ดุแลรดน้ำให้ชุ่มแต่อย่าแฉะ และตั้งในที่ร่ม มีแดดรำไร

ลิ้นมังกร

ต้นไม้ที่เหมาะกับการปลูกในห้องนอนมากทีเดียว เพราะต้นลิ้นมังกรจะคายออกซิเจน ดูดสารพิ ษและคาร์บอนไดออกไซด์ในช่วงกลางคืน ทำให้ร่ า งกายได้รับอากาศบริสุทธิ์อย่างเต็มปอดและนอนหลับสนิทมากขึ้น วิธีการปลูกที่ง่ายที่สุดคือ การปักชำ โดย ตั ดลิ้นมังกรจากต้นพันธุ์มา 1 ใบ ความย าวประมาณ 10 เซนติเมตร ปักลงดิน 1 ส่วน ที่ผสมด้วยทราย 0.5 ส่วน และขุยมะพร้าว 2 ส่วน ดูแลรดน้ำปานกลางวันละ 1 ครั้ง และตั้งให้โดดแดดในเวลากลางวัน

พลูด่าง

ไม้ประดับที่นอกจากจะมีรูปร่ า งสวยงามคล้ายรูปหัวใจแล้ว มันยังคุณสมบัติที่น่าทึ้ งอีกต่างหาก เพราะช่วยลดฝุ่นในอากาศได้ถึง 94% และเชื้อราในอากาศได้ 78% นอกจากนี้นี้หากนำพลูด่างมาปลูกไว้ในห้องนอน ก็จะช่วยฟอกอากาศให้บริสุทธิ์ นอนหลับได้อย่างสบาย ไร้อาการภูมิแพ้หรือหอบหืดรบกวน โดยนำต้นที่สมบูรณ์มาปลูกลงในดินผสมแกลบ ขุยมะพร้าว หรือเศษใบไม้ ในอัตราส่วนที่เท่ากัน หากจะปักในแจกันก็ใช้ น้ำสะอาดเพียงอย่างเดียวก็พอค่ะ

 

ว่านหางจระเข้

เป็นหนึ่งในพันธุ์ไม้อมตะที่คนอิยิปต์นิยมนำมาใช้ เพราะนอกจากจะช่วยดูแลความงามและใช้รั กษ าแผลผิวหนังได้แล้ว ว่านหางจระเข้ก็ยังช่วยให้คุณนอนหลับได้ดีขึ้นอีกด้วย เพราะว่านหางจระเข้จะคายออกซิเจนออกมาในตอนกลางคืน แถมยังดูแลง่าย หากจะปลูกเพื่อนำมาตั้งในห้องนอน ให้เตรียมดินมาผสมกับปุ๋ยคอกและขุยมะพร้าวลงในกระถาง แล้วทำการแยกหน่อจากต้นที่สมบูรณ์บางส่วนมาปักลงในกระถางที่เตรียมไว้ อย่ากลบดินจนแน่เกินไป ดูแลลดน้ำเพียงเล็กน้อย แล้วนำออกไปตากแดดรำไร เพราะถ้าแดดจัดไปต้นจะไหม้

ปาล์มไผ่

ต้นไม้ต้นเล็ก ที่มีประสิทธิภาพในการฟอกอากาศได้ดีเยี่ยม แถมยังช่วยกำจัดสารพิ ษที่ปะปนอยู่ในอากาศได้อีกต่างหาก ทำให้ได้หายใจด้วยอากาศบริสุทธิ์ทั้งในย ามตื่นและย ามหลับ ส่วนการปลูกก็ง่าย คือการนำหน่อที่มีราก 3 ราก มาปลูกลงในกระถางที่ดินร่วนซุย 2 ส่วน ปุ๋ยหมัก 1 ส่วน ทราย 1 ส่วน และเศษไม้ผุอีก 1 ส่วน ดูแลรดน้ำให้ชุ่มแต่อย่าแฉะเพียงวันละ 1 ครั้ง ตั้งให้อยู่ที่โดนแดดโดยตรง

เดหลี

เพราะต้นไม้สวย ต้นนี้จะช่วยกรองสาพิ ษอย่าง เบนซิน ไตรคลอโรเอทิลีน และฟอร์มาลดีไฮด์ในอากาศได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังผลิตความชื้นในอากาศให้เพิ่มขึ้น 5% เพื่อกำจัดเชื้อโ ร คในอากาศที่ก่อให้เกิດอาการภูมิแพ้ พร้อมบรรเทาการระคายเคืองระบบทางเดินหายใจทำให้นอนหลับสบายตลอดทั้งคืน ปลูกง่าย โดยแยกกอจากต้นที่สมบูรณ์มาปลูกลงในกระถางที่มีดินร่วน 2 ส่วน ทราย 1 ส่วน เศษไม้ผุ 1 ส่วน และปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก 1 ส่วน ดูแลรดน้ำให้พอชุ่มแต่อย่าแฉะทุกวัน ตั้งให้โดนแดดรำไร และอย่าลืมละลายปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกในน้ำเปล่าเพื่อรดบำรุงต้นเดือนละ 2 ครั้งด้วยนะคะ

เศรษฐีเรือนใน

ฟัง ชื่อก็น่าหามาปลูกแล้วใช่ไหมคะ เศรษฐีเรือนในจัดว่าเป็นไม้ดูดสารพิ ษในอาคาร ที่ทางองค์กรนาซาได้ทำการวิจัยแล้วว่า มันมีคุณสมบัติช่วยกำจัดสารฟอร์มาลดีไฮด์ สาเหตุที่ทำให้เกิດโ ร คม ะ เ ร็ งในอากาศได้ถึง 90% ซึ่งเป็นสารที่มาจากวัสดุก่อสร้างภายในบ้าน หากนำเศรษฐีเรือนในมาตั้งไว้ในห้องนอน ก็จะช่วยกำจัดสารพิ ษพวกนี้ให้หมดไป พร้อมกับผลิตออกซิเจนให้เราได้นอนหลับสบาย วิธีการปลูกให้นำต้นอ่อนจากไหลไปปลูกลงในกระถางที่มีดินร่วมซุยผสมทรายและเศษหิน ดูแลรดน้ำปานกลางและตั้งให้โดนแดดรำไร

ข้อมูลจาก: kapook.com