สุดยอดไปเลยหมดปัญหาฝุ่น PM2.5 พบทางแก้แล้ว โดยฝีมือเด็กไทยวัย 8 ขวบ

เมื่อไม่กี่สัปดาห์ คนไทยทั่วประเทศโดยเฉพาะในกรุงเทพและเขตปริมณฑลต้องเผชิญกับปัญหาฝุ่น 2.5 pm กันอย่างเลี่ยงไม่ได้ และไม่ว่าจะทำยังไงฝุ่นก็ไม่ยอมลด จนถึง ณ เวลานี้ ก็ยังไม่สามารถทราบได้ว่าฝุ่นได้ลดลงไปบ้างรึยัง แต่ล่าสุดเราได้พบทางสว่างของปัญหานี้แล้ว แถมผู้ที่คิดค้ นวิธีได้คือเด็กไทยวัยเพียง 8 ขวบเท่านั้น โดยเพจ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน(องค์การมหาชน) SLRI ได้นำเสนอว่า

เด็กหญิง ยินดี รังษี อายุ 8 ขวบ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวารีเชียงใหม่ ได้คิดค้นวิธีการแก้ปัญหา PM 2.5 ด้วยการนำมอสมาสร้างเป็นเครื่องไบโอฟิล ตกยอดม าจนเป็นที่ดูดฝุ่นละอองขนาดเล็ก

ฝุ่นพิษ PM 2.5 พบทางแก้แล้วจากเด็ก 8 ขวบ! ด้วยการเลี้ยงมอส

ตอนนี้ปัญหาใหญ่ไม่ว่าเมือง ไหนก็โดนตามกันไปหมด ปัญ หานั่นก็คือมลพิษทางอากา รอย่าง “ฝุ่นพิษ PM 2.5” ที่ออกอาละวาดจนทำให้พวกเราทุกคนต้องมีหน้ากากเป็นอวัยวะที่ 33 ของร่างกาย แต่วันนี้แสงซินโครตรอนแสงเ ล็กๆที่มั่นสร้างคุณภาพชีวิ ตของทุก คนให้ดีขึ้นมีทางแก้ มาเล่า ให้ฟัง โดยสิ่งแรกที่ทุกคนควรรู้ก่ อนนั้นก็คือ งานวิจัยนี้เป็นของเด็กอายุ เพียง 8 ขวบ! เด็กคนนี้ก็คือน้องยินดี หรือเด็กหญิง ยินดี รังษี อายุ 8 ขวบ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที ่ 3 โรงเรียนวารีเชียงใหม่ น้องได้ค้นพบกุญแจสำคัญในการจบปัญหาฝุ่น PM 2.5 โดยการนำมอสพันธุ์คริสต์มาส มาทำเป็น เครื่องไบโอฟิลเตอร์ ซึ่งน้องเองได้เล่าอธิบายไว ้ว่าก่อนหน้านี้คุณพ่อได้พา ตนเองไปเที่ยวชมสวนมอส เลยเกิดแรงบันดาลใจอยากจะ กลับมาทดลองเลี้ยงและต่อยอดทำ เป็นที่ดูดฝุ่นละอองขนาดเล็ก เจ้าเครื่องดูดฝุ่นนั้นก็คือเครื่องไบโอฟิลเตอร์ ภายในเครื่องจะมีมอสที่ปลูก

เลี้ยงไว้เป็นผืนกรองฟิลเตอ ร์ ลักษณะเป็นแนวดิ่งหลายๆชั้น  เพื่อกรองควันหรือฝุ่นขนาดเ ล็ก และกรองออกซิเจนออกมาแทน ซึ่งลักษณะการทำงานเหมือนกับเป็นเครื่อง กรองอากาศที่ขา ยดิบดีในเวลานี้ ซึ่งน้องยินดียังบอกข้อมูลเ ชิงลึกให้คนทั่วไปรู้ในเวลา เดียวกันอีกว่า การสูบบุหรี่ทำให้ร่างกายได ้รับฝุ่น PM 2.5 มอสในกา รกรองตรงนี้จะทำให้ PM 2.5 ลดค่าลงมาอยู่ในเกณฑ์ปกติ ซึ่งก็ถูกต้องไม่ผิดเพี้ยน

เพราะ ดร.พญ.เริงฤดี ปธานวนิช รอง ผอ.ศูนย์วิจัยและจัดการความ รู้เพื่อการควบคุมยาสูบ ได้ให้ข้อมูลไว้ว่าการสูบบุ หรี่ 1 มวน มีอันตรายเท่ากับ การรับฝุ่น พิษ PM 2.5 เข้าสู่ร่างกาย 22 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ผู้ใหญ่หลายคนที่อ่านมาถึงตรงนี้อาจจะรู้สึกดีใจและปลื ้มในความคิดของน้องยินดีเพร าะในสมันที่ตนเองเป็นเด็กๆ การปลูกถั่วงอกได้สำเร็จนี่ ก็ถือว่ายืนยิ้มน้ำตาไหลแล้ ว

และหลังจากนี้น้องยินดีก็จะ พัฒนาต่อยอดในสเต็ปต่อไปที่ มั่นคงและยั่งยืนยิ่งขึ้น โดยได้รับความร่วมมือจากการ ประสานงานของ 4 หน่วยงาน ลำดับแรกคือ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการ ดูเรื่องพันธุ์พืช ลำดับที่สองภาควิศวกรรมเกษต ร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในกา รดูเรื่ องโครงสร้างเครื่อง ลำดับที่สาม ภาควิศวกรรมคอมพิวเตอร์มหาว ิทยาลัยลาดกระบัง

ดูเรื่องระบบควบคุม และลำดับสุดท้ายที่ขาดไม่ได ้นั่นก็คือ “แสงซินโครตรอน” โดยในอนาคตน้องยินดีคนเก่งจ ะนำแนวคิดทั้งหมดไปจดสิทธิบัตร และทำวิจัยกับสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน เพื่อเป็นการต่อยอดได้อย่าง เต็มศักยภาพด้วยเทคโนโลยีแส งวิทยาศาสตร์ขั้นสูงที่ใหญ่ ที่สุดในภูมิภาคอาเซียน”

งานนี้บอกได้เลยว่าถูกใจชาวเน็ตสุดๆ ลองไปดูคอมเม้นท์กัน