ในประเทศไทยคนสมัยก่อนนำผล “ฟักข้าว” อ่อนสีเขียวเป็นอาหาร เนื่องจากรสชาติเนื้อฟักข้าวเหมือนมะละกอ
วิธีการนำมารับประทานโดยการนำมาลวกหรือต้มให้สุก จิ้มกินกับน้ำพริก หรือใส่แกง
ส่วนยอดอ่อน ใบอ่อนนำมาเป็นผักได้ โดยการนึ่งหรือลวกให้สุก เช่นเดียวกับผลอ่อนนำไปปรุงเป็นแกง เช่น แกงแค หรือจิ้มน้ำพริกได้เช่นเดียวกัน
ในปัจจุบันจากงานวิจัยหลายแห่งพิสูจน์แล้วว่าการบริโภคเยื่อหุ้มเมล็ดของผลสุก มีประโยชน์มากกว่าการบริโภคผลอ่อน เพราะในเยื่อหุ้มเมล็ด มีสารที่มีประโยชน์มากมาย
เช่น สารต้านอนุมูลอิสระสูง, ช่วยเสริมภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย มีส่วนช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งปอด และมะเร็งกระเพาะอาหาร ฯลฯ
– มะนาว
– น้ำตาลทรายไม่ฟอกสี
– ดอกเกลือ (เกลือป่น)
– น้ำผึ้ง
– น้ำเปล่า
2. ตักเนื้อที่เหลือใส่เครื่องปั่น เติมน้ำพอท่วม ปั่นให้ละเอียด
3. เทเนื้อฟักข้าวที่ปั่นแล้วผสมกับเยื่อหุ้มเมล็ดที่ยีไว้ เติมน้ำอีกหน่อย
4. ตั้งไฟกลางๆ ใช้ทัพพีคนบ่อยๆ อย่าให้เดือดพล่าน
5. เติมน้ำตาลทรายไม่ฟอกสี ดอกเกลือ ชิมรสตามชอบ
6. ปิดไฟแล้วเติมน้ำผึ้งกับน้ำมะนาวแต่งกลิ่นและรสอีกหน่อย (มะนาวจะช่วยให้น้ำฟักข้าวตกตะกอนช้าดูน่าดื่มอีกด้วยค่ะ)
2. โดดเด่นที่สารไลโคปีน เป็นสารต้านอนุมูลอิสระอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งในฟักข้าวมีปริมาณที่สูงกว่ามะเขือเทศถึง 70 เท่า มีสรรพคุณช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจ ชะลอความเสื่อมของร่างกายและริ้วรอยที่เกิดจากวัย ทำให้ระบบไหลเวียนของโลหิตมีประสิทธิภาพ
3. ปรุงเป็นยารักษาโรค ส่วนอื่นๆ ของต้นฟักข้าวสามารถนำไปใช้เป็นยาตามตำรับแพทย์แผนตะวันออกได้อีกด้วย ไม่ว่าจะเป็นส่วนใบ เมล็ด ยอด และราก เพื่อใช้ในการถอนพิษ ลดไข้ และรักษาโรคบางชนิด
4. ป้องกันโรคมะเร็ง เนื่องจากในผลฟักข้าวนั้นอุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระอย่างมากมาย จึงสามารถช่วยป้องกันการเกิดโรคมะเร็งได้อย่างมีประสิทธิภาพดีเยี่ยม ซึ่งมีการศึกษาค้นคว้าในประเทศจีนแล้วพบว่า ผลฟักข้าวสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของเซลล์ตับ และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งตับอีกด้วย
5. ยับยั้งเชื้อ HIV จากผลการวิจัยของมหาวิทยาลัยมหิดลพบว่า โปรตีนจากผลฟักข้าวมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ HIV และได้รับการจดสิทธิบัตรในประเทศไทยเรียบร้อยแล้ว
สมุนไพรใกล้ตัว มุ่งเสนอสรรพคุณทางยา การนำไปใช้ควรพิจารณาอย่างรอบด้าน
วิธีการนำมารับประทานโดยการนำมาลวกหรือต้มให้สุก จิ้มกินกับน้ำพริก หรือใส่แกง
ส่วนยอดอ่อน ใบอ่อนนำมาเป็นผักได้ โดยการนึ่งหรือลวกให้สุก เช่นเดียวกับผลอ่อนนำไปปรุงเป็นแกง เช่น แกงแค หรือจิ้มน้ำพริกได้เช่นเดียวกัน
ในปัจจุบันจากงานวิจัยหลายแห่งพิสูจน์แล้วว่าการบริโภคเยื่อหุ้มเมล็ดของผลสุก มีประโยชน์มากกว่าการบริโภคผลอ่อน เพราะในเยื่อหุ้มเมล็ด มีสารที่มีประโยชน์มากมาย
เช่น สารต้านอนุมูลอิสระสูง, ช่วยเสริมภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย มีส่วนช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งปอด และมะเร็งกระเพาะอาหาร ฯลฯ
วิธีทำน้ำฟักข้าว
– ฟักข้าวสุกคาต้น 2 ลูก– มะนาว
– น้ำตาลทรายไม่ฟอกสี
– ดอกเกลือ (เกลือป่น)
– น้ำผึ้ง
– น้ำเปล่า
วิธีทำ
1. ผ่าฟักข้าวตักเมล็ดออกมาใส่กระชอน ยีเอาแต่เยื่อหุ้มเมล็ด
ออกมาเป็นครีมสีแดงอมส้มอย่างนี้ค่ะ
2. ตักเนื้อที่เหลือใส่เครื่องปั่น เติมน้ำพอท่วม ปั่นให้ละเอียด
3. เทเนื้อฟักข้าวที่ปั่นแล้วผสมกับเยื่อหุ้มเมล็ดที่ยีไว้ เติมน้ำอีกหน่อย
4. ตั้งไฟกลางๆ ใช้ทัพพีคนบ่อยๆ อย่าให้เดือดพล่าน
5. เติมน้ำตาลทรายไม่ฟอกสี ดอกเกลือ ชิมรสตามชอบ
6. ปิดไฟแล้วเติมน้ำผึ้งกับน้ำมะนาวแต่งกลิ่นและรสอีกหน่อย (มะนาวจะช่วยให้น้ำฟักข้าวตกตะกอนช้าดูน่าดื่มอีกด้วยค่ะ)
ประโยชน์ของฟักข้าว
1. เป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ดี เพราะในฟักข้าวอุดมไปด้วยสารสำคัญที่ชื่อ “เบต้าแคโรทีน” ที่มากกว่าแครอท 20 เท่า “ซีแซนทีน” มากกว่าข้าวโพดเหลือง 40 เท่า และมีวิตามินซีสูงกว่าส้มถึง 40 เท่า ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยป้องกันการเกิดโรคหัวใจ โรคมะเร็งต่างๆ สร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย และบำรุงผิวพรรณให้ผุดผ่องสวยงาม2. โดดเด่นที่สารไลโคปีน เป็นสารต้านอนุมูลอิสระอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งในฟักข้าวมีปริมาณที่สูงกว่ามะเขือเทศถึง 70 เท่า มีสรรพคุณช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจ ชะลอความเสื่อมของร่างกายและริ้วรอยที่เกิดจากวัย ทำให้ระบบไหลเวียนของโลหิตมีประสิทธิภาพ
3. ปรุงเป็นยารักษาโรค ส่วนอื่นๆ ของต้นฟักข้าวสามารถนำไปใช้เป็นยาตามตำรับแพทย์แผนตะวันออกได้อีกด้วย ไม่ว่าจะเป็นส่วนใบ เมล็ด ยอด และราก เพื่อใช้ในการถอนพิษ ลดไข้ และรักษาโรคบางชนิด
4. ป้องกันโรคมะเร็ง เนื่องจากในผลฟักข้าวนั้นอุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระอย่างมากมาย จึงสามารถช่วยป้องกันการเกิดโรคมะเร็งได้อย่างมีประสิทธิภาพดีเยี่ยม ซึ่งมีการศึกษาค้นคว้าในประเทศจีนแล้วพบว่า ผลฟักข้าวสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของเซลล์ตับ และลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งตับอีกด้วย
5. ยับยั้งเชื้อ HIV จากผลการวิจัยของมหาวิทยาลัยมหิดลพบว่า โปรตีนจากผลฟักข้าวมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ HIV และได้รับการจดสิทธิบัตรในประเทศไทยเรียบร้อยแล้ว
สมุนไพรใกล้ตัว มุ่งเสนอสรรพคุณทางยา การนำไปใช้ควรพิจารณาอย่างรอบด้าน